Montfort College
  • อัลบั้มภาพทั้งหมด
  • อัลบั้มภาพทุกสถาบัน
  • อัลบั้มภาพแยกตามประเภท
Montfort College
  [ Home ]  [ Today 's Event ]  [ FAQ ]  [ บันทึกงาน ]
User: Passwd:
ค้นหาข้อมูล:

ค้นหารูปภาพ :

อัลบั้ม : 5402 โครงการระบบเครื่องลูกข่ายแบบเสมือน โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (Virtual Desktop Infrastructure : VDI Server) เพื่อรองรับการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2565

งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ สำนักผู้อำนวยการ ได้ดำเนินการศึกษา โครงการระบบเครื่องลูกข่ายแบบเสมือน โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (Virtual Desktop Infrastructure  : VDI Server) เพื่อตอบสนองนโยบายในการเป็นโรงเรียนดิจิทัล และให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองพร้อมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ซึ่งเป็นการตอบสนองยุทธศาสตร์ในด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตลอดจนช่วยปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หัวข้อการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยได้มีการนำเอาเทคโนโลยีเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนในส่วนของเครื่องลูกข่ายหรือ Virtual Desktop Infrastructure (VDI) มาใช้งาน ซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี้ได้ช่วยทำให้สามารถยืดระยะเวลาการใช้งานเครื่องลูกข่ายได้นานขึ้นเนื่องจากเทคโนโลยีดังกล่าวจะมีการใช้การประมวลผลที่เครื่องแม่ข่ายเป็นหลักโดยไม่จำเป็นต้องอาศัยเครื่องลูกข่ายที่มีประสิทธิภาพสูงแต่อย่างใด ทำให้การลงทุนดังกล่าวเป็นการลงทุนที่เหมาะสมคุ้มค่าโดยต้นทุนโดยรวมในการลงทุนดังกล่าวไม่แตกต่างจากการลงทุนแบบเดิมมากนัก ทั้งนี้จะได้ประโยชน์จากการได้ใช้งานที่ยาวนานมากขึ้นกว่ารูปแบบเดิม และมีประสิทธิภาพการทำงานที่ดียิ่งขึ้นด้วย ซึ่งเมื่อคิดต้นทุนตามระยะเวลาที่สามารถใช้งานได้แล้วจะทำให้มีค่าใช้จ่ายต่อหน่วยที่ต่ำกว่ารูปแบบเดิมมาก ประกอบกับในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ทำให้โรงเรียนจะต้องเปลี่ยนมาใช้การเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งเทคโนโลยี VDI นั้นช่วยอำนวยความสะดวกให้กับคณาจารย์และนักเรียนได้เป็นอย่างดี ในการช่วยให้สามารถใช้งานโปรแกรมสนับสนุนการเรียนหรือการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อปฏิบัติการสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้แบบออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแทนลักษณะการที่ต้องเข้าห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เหมือนเช่นที่เคยปฏิบัติกันมา ดังนั้นทางงานเทคโนโลยีและสารสนเทศ จึงได้ศึกษาดูงานมีความประสงค์ที่จะให้บริการระบบเครื่องลูกข่ายแบบเสมือน (Virtual Desktop Infrastructure) ที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยให้กับโรงเรียน เพื่อนำไปให้บริการแก่นักเรียนได้อย่ามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งเพื่อเป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียนที่ต้องการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนและบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานด้านการศึกษาและการวิจัยของนักเรียน ตลอดจนนำไปใช้ในการทำงานต่อไปในอนาคตได้ ทั้งนี้ได้ดำเนินการดังนี้

1. วันที่ 27 ตุลาคม 2564 ศึกษาดูงาน ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2. วันที่ 24 พฤศจิกายน 2564 จัดอบรมครูผู้สอนคอมพิวเตอร์ในทุกระดับชั้น หัวข้อ Virtual Desktop Infrastructure  : VDI เพื่อการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ

3. วันที่ 1 ธันวาคม 2564 จัดส่งบุคลาการไปอบรม Virtual Desktop Infrastructure for Education 2021 จัดโดย VMware ประเทศไทย ร่วมกับบริษัทชิชางคอมพิวเตอร์ ประเทศไทย จำกัด


จำนวนภาพในอัลบั้มนี้ 70 ภาพ

ข่าวที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน  0 ข่าว )
 

หน่วยงานที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 หน่วยงาน )  

แผนงาน (จำนวน 0 แผนงาน )
 

โครงการ (จำนวน 0 โครงการ )
 

ภาพโดย:

มาสเตอร์ ฤทธิยา ศรีสวนจิก

มาสเตอร์ ฤทธิยา ศรีสวนจิก

  

ภาพโดยนักเรียน: ไม่ได้แจ้งในระบบ

โพสต์:

มาสเตอร์ ฤทธิยา ศรีสวนจิก

มาสเตอร์ ฤทธิยา ศรีสวนจิก

วันที่โพสต์ : 16 ธ.ค. 64 วันที่ถ่ายภาพ : 16 ธ.ค. 64


อัลบั้ม : 5402 โครงการระบบเครื่องลูกข่ายแบบเสมือน โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (Virtual Desktop Infrastructure : VDI Server) เพื่อรองรับการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2565

งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ สำนักผู้อำนวยการ ได้ดำเนินการศึกษา โครงการระบบเครื่องลูกข่ายแบบเสมือน โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (Virtual Desktop Infrastructure  : VDI Server) เพื่อตอบสนองนโยบายในการเป็นโรงเรียนดิจิทัล และให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองพร้อมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ซึ่งเป็นการตอบสนองยุทธศาสตร์ในด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ตลอดจนช่วยปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หัวข้อการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาทักษะสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยได้มีการนำเอาเทคโนโลยีเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนในส่วนของเครื่องลูกข่ายหรือ Virtual Desktop Infrastructure (VDI) มาใช้งาน ซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี้ได้ช่วยทำให้สามารถยืดระยะเวลาการใช้งานเครื่องลูกข่ายได้นานขึ้นเนื่องจากเทคโนโลยีดังกล่าวจะมีการใช้การประมวลผลที่เครื่องแม่ข่ายเป็นหลักโดยไม่จำเป็นต้องอาศัยเครื่องลูกข่ายที่มีประสิทธิภาพสูงแต่อย่างใด ทำให้การลงทุนดังกล่าวเป็นการลงทุนที่เหมาะสมคุ้มค่าโดยต้นทุนโดยรวมในการลงทุนดังกล่าวไม่แตกต่างจากการลงทุนแบบเดิมมากนัก ทั้งนี้จะได้ประโยชน์จากการได้ใช้งานที่ยาวนานมากขึ้นกว่ารูปแบบเดิม และมีประสิทธิภาพการทำงานที่ดียิ่งขึ้นด้วย ซึ่งเมื่อคิดต้นทุนตามระยะเวลาที่สามารถใช้งานได้แล้วจะทำให้มีค่าใช้จ่ายต่อหน่วยที่ต่ำกว่ารูปแบบเดิมมาก ประกอบกับในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ทำให้โรงเรียนจะต้องเปลี่ยนมาใช้การเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งเทคโนโลยี VDI นั้นช่วยอำนวยความสะดวกให้กับคณาจารย์และนักเรียนได้เป็นอย่างดี ในการช่วยให้สามารถใช้งานโปรแกรมสนับสนุนการเรียนหรือการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อปฏิบัติการสามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้แบบออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแทนลักษณะการที่ต้องเข้าห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เหมือนเช่นที่เคยปฏิบัติกันมา ดังนั้นทางงานเทคโนโลยีและสารสนเทศ จึงได้ศึกษาดูงานมีความประสงค์ที่จะให้บริการระบบเครื่องลูกข่ายแบบเสมือน (Virtual Desktop Infrastructure) ที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยให้กับโรงเรียน เพื่อนำไปให้บริการแก่นักเรียนได้อย่ามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งเพื่อเป็นการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียนที่ต้องการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนและบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานด้านการศึกษาและการวิจัยของนักเรียน ตลอดจนนำไปใช้ในการทำงานต่อไปในอนาคตได้ ทั้งนี้ได้ดำเนินการดังนี้

1. วันที่ 27 ตุลาคม 2564 ศึกษาดูงาน ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2. วันที่ 24 พฤศจิกายน 2564 จัดอบรมครูผู้สอนคอมพิวเตอร์ในทุกระดับชั้น หัวข้อ Virtual Desktop Infrastructure  : VDI เพื่อการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ

3. วันที่ 1 ธันวาคม 2564 จัดส่งบุคลาการไปอบรม Virtual Desktop Infrastructure for Education 2021 จัดโดย VMware ประเทศไทย ร่วมกับบริษัทชิชางคอมพิวเตอร์ ประเทศไทย จำกัด

   จำนวนภาพในอัลบั้มนี้ 70 ภาพ
   ข่าวที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน  0 ข่าว )
 
   หน่วยงานที่นำอัลบั้มนี้ไปอ้างอิง (จำนวน 0 หน่วยงาน )
 
   แผนงาน (จำนวน 0 แผนงาน )
 
   โครงการ (จำนวน 0 โครงการ )
 
   ผู้ถ่ายภาพ:
มาสเตอร์ ฤทธิยา ศรีสวนจิก

มาสเตอร์ ฤทธิยา ศรีสวนจิก

  
   ผู้ถ่ายภาพนักเรียน: ไม่ได้แจ้งในระบบ  ผู้โพสต์:
มาสเตอร์ ฤทธิยา ศรีสวนจิก

มาสเตอร์ ฤทธิยา ศรีสวนจิก


   กำหนดการที่นำไปอ้างอิง :

   รายชื่อผู้ร้องขอไฟล์ภาพต้นฉบับ (ความละเอียดสูง)


  
วันที่โพสต์ : 16 ธ.ค. 64 วันที่ถ่ายภาพ : 16 ธ.ค. 64


แบบสองคอลัมน์ แบบลิสต์ Slideshow


  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

  • Keep
  • Comments

    • «
    • 2
    • 3
    • 4
อัลบั้มก่อนหน้า
อัลบั้มถัดไป
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
  • Keep
  • Comments
    • «
    • 2
    • 3
    • 4
อัลบั้มก่อนหน้า
อัลบั้มถัดไป


เลือกรายชื่อ

รายชื่อผู้ถูกแท็ก

ชื่อ-สกุล